เข้าสู่ฤดูร้อนช่วงเดือนเมษายน
อากาศร้อนแบบนี้มีส่วนทำให้เชื้อโรคต่างเจริญเติบโตได้ดี
ซึ่งบางคนเข้าใจผิดว่ายิ่งอากาศร้อนมากขึ้นเท่าไหร่ เชื้อโรคจะตาย
นั่นคือความเข้าใจที่ผิดที่สุด ยิ่งอากาศร้อนๆอบอ้าวนี่แหละทำให้คนเราเจ็บป่วยได้ง่ายหากเราไม่มีการดูแลสุขภาพตัวเอง
และโรคเริมที่ปาก ก็เป็นหนึ่งในนั้นที่อาจย้อนกลับมาเล่นงานคุณก็เป็นได้ แต่ในข่าวร้ายก็มีข่าวดีแฝงอยู่คือ
เมื่อคุณอายุเพิ่มมากขึ้นโอกาสที่จะเป็นโรคเริม ก็ยิ่งลดน้อยลง
และวันนี้ผมมีวิธีที่จะทำให้คุณๆ ทั้งหลายบอกลาโรคเริมไปได้ตลอดกาล
ทำให้คุณสามารถที่จะเผยรอยยิ้มได้อย่างมั่นใจ ได้กังวล
โรคเริมที่ปาก คืออะไร
เริมที่ปากเป็นโรคติดเชื้อที่ผิวหนังและเยื่อบุบริเวณปาก โดยมีลักษณะเป็นตุ่มใส ๆ เล็ก ๆ บริเวณริมฝีปาก และมีอาการปวด แสบ คัน รอบปาก จากนั้นตุ่มน้ำใสจะแตกออกและตกสะเกิด เริมเกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่เรียกว่า herpes simplex type 1 (HSV-1) โรคเริมที่ปากมักเกิดกับเด็ก หลังจากอาการหายแล้ว เชื้อไวรัสจะหลบซ่อนภายในประสาทและผิวหนังรอบบริเวณเดิมที่เคยเป็น ต่อมาเมื่อร่างกายอ่อนแอลง มีอารมณ์เครียด หรือถูกแสงแดด เชื้อไวรัสนี้จะกำเริบออกมายังบริเวณที่เคยมีอาการติดเชื้อครั้งแรก ทำให้เป็น ๆ หาย ๆ อยู่บ่อย ๆ และนี่คือความหมายของ โรคเริมที่ปาก ที่เป็นกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน มันอาจจะเป็นโรคที่หลายๆ คนมองข้าม คิดว่ามันไม่มีความร้ายแรงอันใด แต่เมื่อทุกท่านได้ศึกษาความหมายของมัน ก็จะทราบว่าโรคนี้ พวกคุณไม่ควรที่จะมองข้าม เด๋วครั้งหน้าผมจะมาแนะนำรายละเอียดของโรคนี้ต่อนะครับบ
เริมที่ปากเป็นโรคติดเชื้อที่ผิวหนังและเยื่อบุบริเวณปาก โดยมีลักษณะเป็นตุ่มใส ๆ เล็ก ๆ บริเวณริมฝีปาก และมีอาการปวด แสบ คัน รอบปาก จากนั้นตุ่มน้ำใสจะแตกออกและตกสะเกิด เริมเกิดจากการติดเชื้อไวรัสที่เรียกว่า herpes simplex type 1 (HSV-1) โรคเริมที่ปากมักเกิดกับเด็ก หลังจากอาการหายแล้ว เชื้อไวรัสจะหลบซ่อนภายในประสาทและผิวหนังรอบบริเวณเดิมที่เคยเป็น ต่อมาเมื่อร่างกายอ่อนแอลง มีอารมณ์เครียด หรือถูกแสงแดด เชื้อไวรัสนี้จะกำเริบออกมายังบริเวณที่เคยมีอาการติดเชื้อครั้งแรก ทำให้เป็น ๆ หาย ๆ อยู่บ่อย ๆ และนี่คือความหมายของ โรคเริมที่ปาก ที่เป็นกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน มันอาจจะเป็นโรคที่หลายๆ คนมองข้าม คิดว่ามันไม่มีความร้ายแรงอันใด แต่เมื่อทุกท่านได้ศึกษาความหมายของมัน ก็จะทราบว่าโรคนี้ พวกคุณไม่ควรที่จะมองข้าม เด๋วครั้งหน้าผมจะมาแนะนำรายละเอียดของโรคนี้ต่อนะครับบ
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น